วันพุธที่ 29 สิงหาคม พ.ศ. 2555

การค้นพบอัฐิพระถังซัมจั๋งที่นานกิง(ภาษาจีน)


玄奘南京博物院
2009410 ... 净然法师告诉记者,灵谷寺里供奉的玄奘师的灵骨舍利确实就是当年被保存在汪伪政府文管会里的那一份。那是1973年周总理批文从南京博物院移交给灵谷寺 ...

部分顶骨为何会埋于九华山?
传真法师告诉记者,汪伪政府将从日本人手中取回的玄奘大师的顶骨舍利分为两份,一份供奉在鸡鸣山下的汪伪政府中央文物保管委员会,另一份和石函被安奉于玄武湖畔的九华山三藏塔下。起初,这份顶骨舍利是想保存在南京城南的普德寺,后就改在了被历朝历代誉为风水宝地的玄武湖边九华山上。
华山上的三藏塔是一座五层楼阁式青砖塔,塔仿西安大雁塔形式,塔的每层开辟有四扇拱形门,在第一层的南面塔壁上镌刻着三藏塔样。
第一层的中央有一圆形石墩,类似棺木,小石碑上刻有玄奘大师灵骨样,这就是玄奘大师灵骨舍利供奉处。原来石墩是敞露的,二十世纪八十年代人们到这里游玩时,还没有什么遮挡。因为游客抚摸,石墩的周边已经被摸得溜光锃亮。甚至还有游客在上面信笔涂鸦。为了妥善保护这一珍贵文物,现在寺院在塔基上罩了一个透明玻璃罩,在塔的外面也加了护栏。
这份玄奘顶骨舍利,就埋藏在三藏塔下的地宫里,但由于水泥封得严严实实,记者无法看到。那么,当年保存在汪伪政府中央文物保管委员会的那份玄奘舍利下落如何呢?记者在灵谷寺亲眼所见的,是否就是这一份呢?
灵谷寺的这份玄奘舍利从何而来?
净然法师告诉记者,灵谷寺里供奉的玄奘大师的灵骨舍利确实就是当年被保存在汪伪政府文管会里的那一份。那是1973年周总理批文从南京博物院移交给灵谷寺的。当时,为了接待日本友人大谷莹润长老,经周总理特批,首先开放了灵谷寺,并将佛教圣物——玄奘法师顶骨舍利从南京博物院请出,移交给灵谷寺供奉。
净然大师说,是南京博物院的文博专家梁白泉先生亲自主持这个接交活动,把玄奘法师的顶骨舍利交给灵谷寺的。当时中国佛教学会的副会长兼秘书长赵朴初居士亲自到南京,检查了交接情况。
记者为此采访了南京博物院原院长梁白泉先生。梁老告诉记者,1973时他任南京博物院陈列部主任,确实是他亲自将玄奘大师的顶骨舍利和灵谷寺进行交接的。而这份南京博物院移交给灵谷寺的舍利,正是当年保存在汪伪政府中央文物保管委员会的那份。南京解放后,这份顶骨舍利几经辗转,最后存于南京博物院,直至移交出去。但因为时隔三十多年,关于此事的具体细节,梁老已经记不清楚了。
总理因何选中灵谷寺?
全国有那么多的寺院,而且有的寺庙可能比灵谷寺还大,周总理当年为什么会独独选中将玄奘大师的顶骨舍利供奉在灵谷寺呢?
净然法师告诉记者,有些寺庙确实比灵谷寺大,但地位却没有灵谷寺特殊,周总理这是在经过多方考虑之后才决定的。日本和中国恢复邦交之后,19734月,日本友人、日本佛教界著名人士大谷莹润长老来华访问,向中国政府提出参观中国佛教寺院的请求。周总理在那时非常着急,当时正是文化大革命时期,僧人差不多都离开了寺院,好多寺庙都遭到了破坏,这怎么办?周总理找到赵朴初询问,对全国的寺庙进行了解,准备恢复开放一些寺庙,但恢复开放的寺庙历史要悠久而且要有地位,开放了以后还要有影响。到底开放什么寺庙呢?考虑之后,决定在全国范围内先恢复开放三所寺庙,第一所,就是南京灵谷寺,前后花了15时间就恢复开放了,第二所是杭州的灵隐寺,第三所就是天台山的国清寺。玄奘大师的顶骨舍利,就是在这时迎奉到灵谷寺的。
净然法师认为,玄奘大师虽然生活在西安时间比较多,但是由于历史因缘,根据传记里记载,他曾经从四川往东南方游历,包括到我们江宁这一带,虽然不能肯定他曾经就到过灵谷寺,但是他的舍利能放在这里供奉,其意义也比较深远。
灵谷寺是玄奘大师顶骨舍利的祖庭?
净然法师告诉记者,灵谷寺可以说是玄奘大师头骨舍利的祖庭。因为,大师顶骨在灵谷寺安奉之后已经被分供过几次,被迎请到西安、北京、台湾等地,有部分还被迎请到了印度。从这个意义上说,灵谷寺是玄奘大师顶骨舍利的祖庭,就像一个祠堂一样,这儿是最根本的。保存在他处的玄奘大师顶骨舍利,基本上都是从这儿分供出去的。据净然法师介绍,灵谷寺除了安奉了玄奘大师的顶骨舍利外,还有许多国宝级的文物。
净然法师最后表示,以后舍利不会再分割出去了,因为密封之后再打开,不停地更换,对舍利的保护不利
     
 
唐僧逝世于唐麟德元年(664),火葬后在长安建塔埋藏。宋代,他的一部分头骨被移藏南京,今又分藏于海内外几处地方。本站收集到几篇有关文章,转载于此。读完之后,便知其来龙去脉……
 
 
西天经的唐高僧玄奘,于六十四岁上逝世了。这位为佛教文化的传播历尽艰难险阻的老和尚。大概怎么也想象不到,他的遗骨竟也是经磨历劫,险些流离他邦。
  最早为唐僧保留遗骨的大概要算唐高宗了。他在陕西终南山紫阁寺建了唐僧的骨塔。[编者按:在终南山下樊川北原。]但不幸,骨塔唐末毁于战火。直到宋仁宗天圣五年(公元一○二七年),才又有人想起了唐僧,金陵天禧寺和尚可政法师去陕西紫阁寺,得到了玄奘顶骨,[编者按:一说可政得到唐僧顶骨是在宋端拱元年(988),移藏南京长干寺则在天圣五年]迎回金陵。他在天禧寺东岗,建了一座石塔,归瘗顶骨。一时间,前来朝拜的信徒络绎不绝。明代建大报恩寺时,又在后山土堆上建三藏塔。
  然而到了清末,寺、塔又都被毁掉。从此,处于外患内优中的国家,似乎再无人有心过问三藏的遗骨了。
  抗战爆发,日寇占领了南京。一九四三年二月二十三日的《申报》突然登载了这样一条消息:日本高森部队于中华门外建筑稻垣神社时,发现报恩寺旧址内埋有玄奘法师遗骨及佛像铜匣等,并有天圣丁卯(一O二七年)和明洪武十九年(一三八六年)两葬志。这消息引起了南京各界人士的注意。日本侵略者想把唐僧顶骨盗走,激起了极大的民愤。大汉奸汪精卫正对政局前途不稳感到惶恐不安,于是便利用此事来笼络佛教徒,蛊惑人心,欺世盗名。他派汉奸诸民谊在今南京城东北的九华山上又建了一座三藏塔。一九四四年新塔落成,唐僧的顶骨却不能全部安放进来,因为日本人实在惹不起,结果是将顶骨分成两部分,一半进塔供奉,另一半则由日本人暂存鸡鸣寺图书博物馆(今中国科学院南京分院)内。原拟将后者带回日本,然而,不久之后,日本投降了,撤退的忙乱中,忘记了这块骨头,于是这部分预骨也侥幸留了下来。先是由前中央博物院筹备处接收。五十年代末期,移到毗卢寺南京佛教协会内。文革后,此珍宝回归佛门,收藏在灵谷寺玄奘法师纪念堂内。这样,唐僧的遗骨终于全部在南京安身。
  九华山和灵谷寺都是南京的风景游览胜地,尤其是九华山,它北濒玄武湖,东接龙广山(俗称富贵山),因山形象一只倒翻的船身,所以又叫覆舟山。六朝时,这里曾是皇家苑囿。现在的九华山已辟为公园。登上山头,只见古城塔影,湖波涟涟,意味无穷。玄奘法师能在这样的地方安身,真是使人感到欣慰。
                                          在南京发现的唐玄奘遗骨
 

  唐代高僧玄奘去印度、尼泊尔等佛教圣地,带回梵经六百五十七部,又花了二十多年辛勤劳动,陆续译出佛经七十五部,凡一千三百三十五卷,为佛教在中国的传播作出了很大贡献。唐高宗麟德元年(664),圆寂于长安玉华宫,初葬于白鹿原,后迁终南山的紫阁寺。唐末之乱,紫阁寺毁于兵火,宋仁宗天圣五年(1027),一个名叫可政的和尚,背着玄奘的顶骨来到南京,安葬在武定门外土城头高地上(即现在晨光机械厂所在地),那时称为三藏堂。辛亥革命后,军阀孙传芳在这个地方建造了金陵兵工厂,汪伪时日本占领军又改为修械所。日本风俗习惯,喜欢到处建立神社,又在这里建造一所稻荷神社。1943年破土动工时,挖出一个三尺许带盖的石函,石函两面刻有文字,记载唐玄奘顶骨迁葬经过;石函里还装有一个铜盒,盒内就盛着玄奘法师的头顶骨和一小包带土的骨灰。铜盒上镌有唐三藏三字还依稀可以辨认。此外还挖得金佛像、琉璃香炉、古钱等随葬物品多件。
  这一重大文物的发现,轰动一时,当时即由日本大使重光郑重移交给汪伪外交部长兼文保委员会主任褚民谊。当时汪伪政府经研究决定:把石函、铜盒、佛像、古钱等随葬物品都放在鸡鸣寺山下文保会长期保存;至于唐玄奘的佛骨则分五份处理:一份送洛阳白马寺;一份送广东,合葬在七十二烈士墓内;一份由日本大使馆送去东京;一份留在南京,安置在九华寺里面。最后一份送往北京,那是1943年春天,在明故宫机场隆重地举行了隆重的欢送仪式。
  当时汪伪的外交部长是褚民谊,他笃信佛教,也善打太极拳,会赶马车和好放风筝,处置玄奘的怫骨,当然要当作一件大事来抓。北京伪组织王克敏专从五台山调了一位爽痴大师来南京迎骨灰。南京从宝华寺调了一位妙原和尚代表南京佛教会,另外派了一位白坚居士代表南京居民,就是缺少一位官府代表,我正好来到南京,褚民谊就临时给了我一个中将参赞武官的名义,代表政府专差专机护送玄奘佛骨去北平。在明故宫举行迎送骨灰仪式时,南京城内外以及上海、杭州、苏州、扬州各地来参加的僧侣和居士们以及日本佛教徒达三千多人,都是新袈裟,新念珠,伏地三叩,遥空三拜,平地佛号声震云霄。飞机离开南京后,妙原和尚建议说:爽痴大师,你是北京佛教会派来的专使,你义不容辞地捧着骨灰盒坐在中央,代表当年取经时代的沙僧;白坚居士,你也许是白马的化身,那你坐在爽痴的前一座上,代表他(玄奘)骑着你的象征,参赞武官张恒,既是武官职又是中央钦派的官府专使,那你坐在右边负责保卫玄奘,无疑的就是齐天大圣孙悟空,我是小庙里的和尚,造诣也浅,只能取猪八戒这个角色了。我当时表示:实不敢当,如果我有悟空禅师本领的万分之一的话,我们也不用这架日本飞机,就用腾云驾雾的风,阿弥陀佛岂不快哉!
  机到徐州,大风顿起,机身摇摆得厉害,机上接到北平的电报说:因天气突变,迎机的僧侣大众,已专车赶到北平机场了,到天津机场,不要绕机场低飞三周了。飞机到济南上空时,风力大减,和尚居士双手合十,又同声唱了声阿弥陀佛约十时到达北平南苑机场,在机场低飞三周,徐徐降落。从机上下望,红袈裟如一片汪洋,佛号声盖住了机声,蔚为壮观。下机后,王克敏捧接玄奘骨灰盒去,乘专车开到中南海团城,安放妥当后,文武官员轮流参拜,工商学界休假一天,轮流参拜,(后来听说弄到日本的一份,抗战胜利后又追回北平合并在团城这一份里了)。翌日,天晴无风,我带着三个和尚,回到南京复命。至于玄奘佛骨留在南京的一份就埋在九华寺里七层宝塔中央三米深以下,所用青砖都是汪伪政府文武职员每人捐助一块集成的,砖上刻着每个施主的名字。由褚谊撰文立碑,竖在九华寺左右两边,左碑是详述玄奘法师取经的伟大功绩,右碑是记载玄奘法师在西方取经经过的路线。记载非常详实。遗憾的是文革时期被红卫兵将图、字磨去,而今只剩下空白的无字碑了。
  (江苏文史资料选辑第十辑)

ประวัติการสร้างเจดีย์บรมพุทโธ

article :จารึกบันทึกประวัติการสร้างเจดีย์บรมพุทโธ
จารึกบันทึกประวัติการสร้างเจดีย์บรมพุทโธ 

กรุณาดูจากลิงค์นี้

http://www.dhammachak.net/real-1.html

อัฐิพระถังซัมจั๋ง(แปลจากภาษาญี่ปุ่นจากเพื่อนที่แสนดี)


อัฐิพระถังซัมจั๋ง(แปลจากภาษาญี่ปุ่นจากเพื่อนที่แสนดี)

               เรามักจะเห็นภาพคนญี่ปุ่นที่เดินทางไปเที่ยวเมืองซีอาน (มณฑลส่านซี) แวะไปกราบไหว้เจดีย์ที่บรรจุอัฐิของพระถังซัมจั๋งในวัดซิงเจี้ยวซื่อเสมอ นอกจากที่วัดนี้แล้ว เชื่อกันว่าอัฐิของพระถังซัมจั๋งยังกระจัดกระจายอยู่ในที่ต่างๆอีกหลายแห่ง ซึ่งผู้รู้เรื่องนี้อย่างลึกซึ้งยังมีไม่มากนัก  จีนกับญี่ปุ่นมีประวัติศาสตร์ช่วงหนึ่งที่บาดหมางใจกัน และในช่วงนี้นี่เองที่อัฐิของพระถังซัมจั๋งได้ถูกแบ่งและกระจายไปยังที่ต่างๆ

               จากข้อมูลที่มีอยู่และผลการค้นคว้า  อาจสรุปได้ว่า ปัจจุบันอัฐิของพระถังซัมจั๋งถูกเก็บรักษาไว้ ณ สถานที่ 13 แห่งดังนี้
               ประเทศอินเดีย ญี่ปุ่น ไต้หวัน มณฑลเสฉวน และมณฑลกวางตุ้ง ที่ละ 1 แห่ง
               มณฑลส่านซี และมณฑลเหอเป่ย ที่ละ 2 แห่ง
               มณฑลเจียงซู 4 แห่ง
               สถานที่ซึ่งเชื่อกันว่ามีอัฐิของพระถังซัมจั๋งเก็บรักษาไว้เหล่านี้ สะท้อนให้เห็นถึงสภาพสังคม การเมืองในยุคสมัยนั้นๆ และจุดยืนของศาสนาพุทธในจีนเป็นอย่างดี

               พระถังซัมจั๋งถึงแก่มรณภาพที่พระตำหนักวี่หัวกงเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ ค.ศ.664  ซึ่งตรงกับรัชสมัยของจักรพรรดิเทนจิของญี่ปุ่น  ศพของพระถังซัมจั๋งได้ถูกย้ายจากพระตำหนักวี่หัวกงมาที่ศาลาแปลพระไตรปิฎก  วัดต้าฉือเอินซื่อ ในเมืองฉางอัน และหลังจากเสร็จสิ้นพิธีทางศาสนาถูกฝังไว้ที่ไป๋ลู่เหวียน ซึ่งอยู่ชานเมืองด้านตะวันออกของเมืองฉางอันเมื่อวันที่ 15 เมษายนปีเดียวกัน อีก 5 ปีต่อมา ฮ่องเต้ถังเกาจงมีพระบรมราชโองการให้ย้ายอัฐิของพระถังซัมจั๋งมาเก็บรักษาที่วัดซิงเจี้ยวซื่อซึ่งอยู่ชานเมืองด้านใต้ และสร้างเจดีย์บรรจุอัฐิเพื่อเป็นที่สักการบูชาของคนทั่วไป เมื่อล่วงมาถึงปลายราชวงศ์ถัง ชาวนาก่อจลาจลและได้ทำลายวัดซิงเจี้ยวซื่อจนเสียหาย    นับจากนั้นเป็นเวลานานกว่า 100 ปีที่ไม่มีผู้ใดทราบว่าอัฐิของพระถังซัมจั๋งไปอยู่ ณ ที่แห่งใด       วัดซิงเจี้ยวซื่อที่เห็นอยู่ในปัจจุบันเป็นการสร้างขึ้นใหม่ภายหลัง

               เมื่อปี ค.ศ. 988 (สมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ ตวนก่งปีที่ 1)  พระภิกษุเข่อเจิ้งแห่งวัดฉางกั้นในเมืองจินหลิง (นานกิงในปัจจุบัน) ได้พบกะโหลกศีรษะของพระถังซัมจั๋งที่วัดจื่อเก๋อซื่อบนเขาจงหนันซันในมณฑลส่านซี สมัยนั้นจีนมักจะถูกคุกคามโดยผู้รุกรานจากทางเหนือเป็นประจำ  โดยเฉพาะจากชนเผ่าซีเซี่ย  ทำให้พระภิกษุเข่อเจิ้งตัดสินใจนำอัฐิของพระถังซัมจั๋งกลับมาที่เมืองจินหลิงด้วย และได้บรรจุไว้ในเจดีย์ตงเก๋อถ่าแห่งวัดฉางกั้น   อีก 39 ปีต่อมา  เมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์  ค.ศ. 1027 (สมัยราชวงศ์ซ่งเหนือ เทียนเซิ่งปีที่ 5) ถังเหวินเสวี่ยนและพวกได้ย้ายอัฐิของพระถังซัมจั๋งมาฝังบนเนินเขาตะวันออกในวัดเทียนสี่ซื่อใกล้กับหวี่ฮัวไถ

               หลังจากนั้นอีก 305 ปี ในปี ค.ศ. 1332 (สมัยราชวงศ์หยวน จื้อซุ่นปีที่ 3)  พระอาจารย์กว๋างเอี่ยนแห่งวัดเทียนสี่ซื่อได้เปิดโกศหินที่บรรจุอัฐิของพระถังซัมจั๋ง แล้วเปลี่ยนบรรจุลงในกล่องเงินเล็กๆ ภายนอกมีกล่องเล็กๆซ้อนทับอีกชั้นหนึ่ง  พร้อมกันนี้ได้ก่อสร้างเจดีย์ตงเก๋อถ่าขึ้นใหม่ด้วย

               ในปี 1686 (สมัยราชวงศ์หมิง หงอู่ปีที่ 19) หวงฝูเติงและพวกได้นำอัฐิของพระถังซัมจั๋งบรรจุในโกศหินเช่นเดิม ภายนอกมีชั้นดินเหนียวคลุมอีกชั้นหนึ่ง    แล้วย้ายไปฝังที่เจดีย์ซันถ่าบนเนินเขาด้านใต้ของวัดเทียนสี่ซื่อ  

ในปี 1854 (สมัยราชวงศ์เช็ง เวยเฟิงปีที่ 4) เกิดกบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว บ้านเมืองมีศึกสงครามหลายครั้ง เจดีย์นี้จึงถูกทำลายไป และอัฐิของพระถังซัมจั๋งก็สูญหายไปพร้อมกันด้วย   นับเป็นครั้งที่ 2 ที่อัฐิของพระถังซัมจั๋งสูญหายไป

               ผู้ที่มาพบอัฐิของพระถังซัมจั๋งอีกครั้งหนึ่งคือทหารญี่ปุ่นในสงครามจีนและญี่ปุ่น   เมื่อเดือนธันวาคม ค.ศ. 1937  กองทัพก๊กมินตั๋งล่าถอยออกจากเมืองนานกิง และกองทัพญี่ปุ่นได้เข้ายึดบริเวณหวี่ฮัวไถ นอกประตูจงหัวในเมืองนานกิงเพื่อสร้างโรงงานผลิตอาวุธยุทโธปกรณ์  ในปี 1942  ขณะที่ทหารญี่ปุ่นขุดดินเพื่อปรับพื้นที่สำหรับก่อสร้างศาลเจ้าอินาริบนภูเขาที่โรงงานตั้งอยู่ ได้พบชั้นดินแปลกประหลาด เมื่อผู้เชี่ยวชาญขุดลึกลงไปอีกประมาณ 3.5 เมตร ก็พบหินก้อนหนึ่ง
               ขนาดของชั้นดินเหนียวที่คลุมโกศหิน  มีความกว้าง 59 ซม. ความยาว 78 ซม. และความสูง 57 ซม
               ขนาดของโกศหิน มีความกว้าง 51 ซม. ความยาว 51 ซม. และความสูง 30 ซม
               ฝาโกศทำด้วยอิฐ และสองข้างโกศมีตัวอักษรจารึกไว้ว่า
                              ฝังในราชวงศ์ซ่งเหนือ  เทียนเซิ่งปีที่ 5
                              ฝังในราชวงศ์หมิง หงอู่ปีที่ 19
ผู้เชี่ยวชาญยืนยันว่าเป็นโกศหินที่บรรจุกะโหลกศีรษะของพระถังซัมจั๋งอย่างแน่นอน สิ่งที่บรรจุภายในโกศหินมีดังนี้
               1. เสี้ยวหนึ่งของกะโหลกศีรษะ (มีใบหู)
                  ชิ้นส่วนกล่องทองเหลือง 2-3 ชิ้น
               2. กล่องหล่อขึ้นรูปใบเล็ก 1 กล่อง
               3. กล่องเงินใบเล็ก 1 กล่อง
               4. หยก 1 เม็ด
               5. ภาชนะทองเหลือง (ถ้วยน้ำชา ภาชนะสำหรับหุงอาหาร 1 ชิ้น  เชิงเทียน 1 ชิ้น)
               6. เครื่องลายคราม (แจกันลายครามสีเขียวอ่อน 2 ชิ้น กระถางธูปลายครามสีเขียวอ่อนและจานลายครามสีเขียวอ่อน อย่างละ 1 ชิ้น)
               7.เหรียญเงินตรา (เศษชิ้นส่วนของเหรียญเงินตราจำนวนกว่า 300 ชิ้น เป็นเงินตราในสมัยถัง ซ่ง หมิง ฯลฯ)
              
เมื่อทหารญี่ปุ่นเปิดโกศ ก็พบหยก เครื่องทองเหลือง เครื่องลายคราม เหรียญเงินตรา และอัฐิซึ่งเป็นชิ้นกระดูกของกะโหลกศีรษะจำนวน 17 ชิ้น  ผู้บัญชาการทหารญี่ปุ่นนายอินาดะดีใจมาก หมายมั่นจะนำกลับไปประเทศญี่ปุ่น แต่ข่าวนี้รั่วไหลออกไป ทำให้เป็นที่ตำหนิติเตียนในหมู่คนจีนเป็นอย่างมาก ทางการจีนที่เป่ยผิง (ปักกิ่งในปัจจุบัน) ไม่อาจนิ่งเฉย จึงได้ส่งเจ้าหน้าที่ชื่อไป๋หลงผิงมาเจรจากับทหารญี่ปุ่น

               ไป๋หลงผิงเสนอให้มีการแบ่งอัฐิ ซึ่งทหารญี่ปุ่นก็ตกลงเห็นด้วยกับการแบ่งดังนี้
                              ส่วนหนึ่งเก็บรักษาไว้ที่เมืองนานกิง โดยบรรจุในเจดีย์ที่สร้างขึ้นบริเวณทะเลสาบเสวียนอู่หูอู่โจว
                              ส่วนหนึ่งส่งไปเก็บรักษาที่เป่ยผิง วัดหงฝูซื่อ
                              และอีกส่วนหนึ่งนำไปประเทศญี่ปุ่น

               ประธานสมาพันธ์พุทธศาสนาแห่งประเทศญี่ปุ่นในสมัยนั้นได้เดินทางมาประเทศจีนเพื่ออัญเชิญอัฐิดังกล่าวโดยเฉพาะ อัฐิกะโหลกศีรษะที่นำกลับไปญี่ปุ่นถูกนำไปเก็บรักษาที่วัดหยิออนหยิ ในจังหวัดไซตามะ

อัฐิที่นำไปเมืองปักกิ่ง ยังถูกแบ่งกระจายไป 3 ที่
ส่วนหนึ่ง (3 ชิ้น) พระอาจารย์จวี้จั้นอัญเชิญไปอยู่ที่โบสถ์ต้าเปี้ยนเจวี๋ยถัง วัดฝ่าเวี่ยนซื่อ เมืองเป่ยผิง
ต่อมา 1 ใน 3 ชิ้นดังกล่าวข้างต้น      ถูกแบ่งไปบรรจุที่ฐานเจดีย์จิ่วหลงปี้ซินถ่า   เป๋ยไห่ในเมืองเป่ยผิง
                              อีก 1 ชิ้นถูกนำไปประดิษฐานที่วัดต้าเปยเวี่ยน เมืองเทียนจิน

               อีกส่วนหนึ่ง พระอาจารย์เหนิงไห่นำกลับไปประดิษฐานที่วัดจิ้งฉือซื่อ มณฑลเสฉวน และในปี 1958 ถูกนำไปรักษาไว้ที่เจดีย์หลิงกู่ถ่า หอเก็บพระคัมภีร์ วัดเหวินซูเวี่ยน เมืองเฉิงตู
               อัฐิที่ถูกแบ่งไปเมืองนานกิง ก็ถูกแบ่งกระจายไป 3 ที่
                              ส่วนหนึ่งอยู่ที่วัดหลิงกู่ซื่อ เมืองนานกิง
                              ส่วนหนึ่งบรรจุในเจดีย์ซันจั้งบนยอดเขาฟู่โจว เมืองนานกิง
                              อีกส่วนหนึ่งเก็บรักษาไว้ที่พิพิธภัณฑ์นานกิง

               ในหนังสือ ประวัติย่อพุทธศาสนาสมัยใหม่ในเซี่ยงไฮ้ซึ่งแต่งโดยอิ๋วโหย่วเหวย กล่าวว่า ที่วัดฝ่าจั้งซื่อ เมืองเซี่ยงไฮ้ ซึ่งสร้างขึ้นเมื่อปี 1924 มีเจดีย์บรรจุอัฐิของพระถังซัมจั๋ง แต่ไม่ทราบว่าอัฐิดังกล่าวถูกแบ่งมาจากสายไหน

               ต้นทศวรรษปี 1950 ญี่ปุ่นจัดประชุมใหญ่เพื่อเชื่อมความสัมพันธ์ระหว่างพุทธศาสนิกชนทั่วโลก รัฐบาลไต้หวันได้ส่งพระอาวุโสถงเจีย พระอาจารย์อิ้นซุ่น คหบดีจ้าวเหิงเจวี้ยน หลี่จื่อเซี่ยน และหลี่เทียนชุน ไปร่วมประชุมในครั้งนี้ด้วย ซึ่งทางญี่ปุ่นได้เปิดให้ผู้เข้าประชุมได้ชมอัฐิส่วนกะโหลกศีรษะของพระถังซัมจั๋งด้วย  เมื่อผู้แทนของไต้หวันกลับมาถึงประเทศ  ก็ได้เสนอรัฐบาลไต้หวันให้ทวงคืนอัฐินั้นจากญี่ปุ่น

               ไต้หวันและญี่ปุ่นตกลงกันได้ในปี 1955 โดยแบ่งอัฐินั้นออกเป็น 2 ส่วน ครึ่งหนึ่งคงอยู่ที่ประเทศญี่ปุ่น และอีกครึ่งหนึ่งส่งคืนไต้หวันโดยส่งคนไปมอบให้ถึงไต้หวัน เมื่ออัฐิเดินทางถึงสนามบินซงซันของไต้หวัน มีประชาชนมาให้การต้อนรับอย่างล้นหลามถึง 1 แสนคน ครั้งแรกไต้หวันเก็บรักษาอัฐิของพระถังซัมจั๋งที่วัดไคซั่นซื่อ อำเภอซินจู๋ ต่อมารัฐบาลสั่งให้สร้างวัดเสวียนจั้งซื่อขึ้นบนเขาชิงหลงซัน บริเวณยื่อเวี่ยถันซึ่งเป็นสถานที่ท่องเที่ยวอันเลื่องชื่อของไต้หวัน เพื่อเป็นสถานที่เก็บรักษาอัฐินั้น

               การสร้างวัดเสวียนจั้งซื่อวางแผนกันตั้งแต่ปี 1955 พุทธบริษัทในไต้หวันได้ร่วมกันจัดตั้งคณะทำงานขึ้นเพื่อการนี้ โดยมีคหบดีจ้าวเหิงเจวี้ยนเป็นประธาน งานก่อสร้างเริ่มในปี 1956 และแล้วเสร็จในปี 1964

               ในวิทยานิพนธ์เรื่อง คุณูปการที่พระถังซัมจั๋งมีต่อวัฒนธรรมของจีนของนายตงชูชาวไต้หวัน ได้กล่าวไว้ว่า ค่าใช้จ่ายที่จำเป็นในการก่อสร้างวัดเสวียนจั้งซื่อล้วนได้รับการบริจาคจากพุทธศาสนิกชน ส่วนรัฐบาลไต้หวันเป็นผู้ออกเงินส่วนที่ขาดเหลือ งานก่อสร้างใช้เวลา 10 ปี ใช้เงิน กว่า 20 ล้านเหรียญไต้หวัน วิหารนี้เป็นสิ่งก่อสร้างเลียนแบบสมัยราชวงศ์ถัง มี 3 ชั้น และชื่อว่าเสวียนจั้งเตี้ยน   เขายังบันทึกว่า ได้มีการสร้างเจดีย์บนเขาชิงหลงซันด้วย โดยตั้งชื่อว่า เจดีย์ฉือเอินถ่า รัฐบาลอุดหนุนเงิน 7 ล้านเหรียญไต้หวันในปี 1964 ที่วิหารสร้างเสร็จ ตรงกับที่พระถังซัมจั๋งถึงแก่มรณภาพ 1300 ปี จึงมีการสร้างบันได 1300 ขั้นจากวัดเสวียนจั้งซื่อขึ้นไปถึงเจดีย์ฉือเอินถ่าบนยอดเขา และได้จัดงานฉลองยิ่งใหญ่ พร้อมกับย้ายอัฐิของพระถังซัมจั๋งไปบรรจุไว้ในเจดีย์นี้  ด้วยเหตุดังกล่าว ยื่อเวี่ยถันจึงกลายเป็นสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ในศาสนาพุทธตั้งแต่นั้นเป็นต้นมา

               ในปี 1956 นายกรัฐมนตรีโจวเอินไหลของจีนเยือนประเทศอินเดีย นายกรัฐมนตรีเนรูห์ของอินเดียสั่งให้มีการบูรณะซ่อมแซมวัดนาลันทา (Nalanda) ซึ่งเป็นวัดในอินเดียที่พระถังซัมจั๋งได้ไปศึกษาเล่าเรียนอยู่ถึง 5 ปี และเสนอให้ตั้งชื่อวัดนี้ใหม่ว่าสถาบันเสวียนจั้ง นายกรัฐมนตรีโจวเอินไหลได้แบ่งอัฐิของพระถังซัมจั๋ง ซึ่งเก็บรักษาไว้ที่วัดต้าเปยเวี่ยน เมืองเทียนจิน 1 ชิ้น เพื่อมอบให้อินเดียเก็บไว้ที่สถาบันแห่งนี้ รัฐบาลอินเดียได้นำอัฐิดังกล่าวเก็บรักษาไว้ในผอบคริสตัลที่งดงามยิ่ง และนำไปบรรจุในเจดีย์ทอง ซึ่งมีความสูง 40 ซม.

               ในวาระที่พระถังซัมจั๋งถึงแก่มรณภาพครบ 1320 ปีเมื่อ ค.ศ. 1984  พระอาจารย์ทาคาดะแห่งวัดยาคุชิหยิได้แบ่งอัฐิส่วนกะโหลกศีรษะส่วนหนึ่งของพระถังซัมจั๋งซึ่งเก็บไว้ที่ประเทศญี่ปุ่น และได้เดินทางไปประเทศจีนด้วยตนเองเพื่อมอบให้กับพระอาจารย์ฉางหมิงแห่งวัดซิงเจี้ยวซื่อ มณฑลส่านซี อัฐินี้บรรจุไว้ในเจดีย์เสวียนจั้งถ่า

               จากข้อมูลที่มีอยู่ปัจจุบัน  อาจกล่าวได้ว่าอัฐิส่วนกะโหลกศีรษะของพระถังซัมจั๋งกระจายอยู่ ณ สถานที่ ต่างๆ 13 แห่งทั่วโลกดังนี้
                      ในประเทศจีนมี 11 แห่ง ได้แก่  วัดฝ่าเหวียนซื่อ เมืองปักกิ่ง 
สวนสาธารณะเป๋ยไห่ เมืองปักกิ่ง
วัดหลิงกู่ซื่อ เมืองนานกิง
เขาฟู่โจวซัน เมืองนานกิง
พิพิธภัณฑ์นานกิง
วัดฝ่าจั้งซื่อ เมืองเซี่ยงไฮ้
วัดเหวินซูเวี่ยน เมืองเฉิงตู
วัดหนันหัวซื่อ เมืองวิ่นกวน มณฑลกวางตุ้ง
วัดเสวียนจั้งซื่อ ไต้หวัน
วัดซิงเจี้ยวซื่อ เมืองซีอาน
วัดต้าฉือเอินซื่อ เมืองซีอาน
                     ในประเทศอื่นๆมี 2 แห่ง ได้แก่  วัดหยิออนหยิ ประเทศญี่ปุ่น
                                                                                สถาบันเสวียนจั้ง ประเทศอินเดีย

               ในวิทยานิพนธ์เรื่อง อัฐิพระถังซัมจั๋งของนายหยางซู่ กล่าวไว้ว่า พระถังซัมจั๋งเมื่อตอนยังมีชีวิตอยู่ ได้สั่งลูกศิษย์ว่าถ้าตนเสียชีวิตไปแล้ว ให้นำกระดูกของตนไปฝังไว้ในบริเวณภูเขา ไม่ให้ฝังใกล้วัดหรือวัง แต่การที่ฮ่องเต้ถังเกาจงไม่ทำตามความตั้งใจเดิมของพระถังซัมจั๋ง จึงทำให้บ้านเมืองเกิดเภทภัย มีศึกสงครามหลายครั้งหลายครา

               นอกจากนี้ นายเหมิงจิ่งบรรณาธิการแห่งหนังสือพิมพ์ท้องถิ่นถงชวนได้กล่าวไว้ว่า พระถังซัมจั๋งมรณภาพที่วี่หัวซัน และปรารถนาจะให้ฝังศพของตนเองไว้ที่เขาวี่หัวซัน แต่จนบัดนี้เวลาล่วงผ่านไปแล้วกว่า 1200 ปี ก็ยังไม่มีอัฐิของพระถังซัมจั๋งประดิษฐาน ณ ที่แห่งนั้นเลย

               พระถังซัมจั๋งเป็นผู้ประพันธ์ จดหมายเหตุการเดินทางสู่ดินแดนตะวันตกของมหาราชวงศ์ถังหรือที่ภาษาจีนเรียกว่า ต้าถังซีวี่จี้วรรณกรรมเรื่อง ไซอิ๋ว ทำให้ชื่อของพระถังซัมจั๋งเป็นที่เลื่องลือและรู้จักกันทั่วไป อัฐิของพระถังซัมจั๋งเดิมในสมัยราชวงศ์ซ่ง ประดิษฐานอยู่ที่เมืองฉางอัน (เมืองซีอานในปัจจุบัน) ต่อมาถูกย้ายมาอยู่ที่เมืองนานกิง หลังเกิดกบฏไท่ผิงเทียนกั๋ว ก็ไม่มีผู้ใดทราบว่าอัฐิของพระถังซัมจั๋งไปอยู่ ณ ที่แห่งใดอีก จนมาถึงช่วงสงครามโลกครั้งที่ 2 ทหารญี่ปุ่นเข้ายึดครองเมืองนานกิง และได้ขุดพบโกศหินซึ่งบรรจุอัฐิของพระถังซัมจั๋งโดยบังเอิญ (ปีโชวะ 17)   ปีต่อมา อัฐินั้นก็ถูกนำส่งคืนให้แก่รัฐบาลนานกิงในขณะนั้น และในปีโชวะ 19 มีการก่อสร้างเจดีย์เสวียนจั้งบนเขาเสวียนอู่ซัน ในเมืองนานกิง และอัฐิได้ถูกบรรจุไว้ในเจดีย์นี้ ในปีเดียวกันนั้น อัฐิของพระถังซัมจั๋งบางส่วนก็ถูกแบ่งไปที่ประเทศญี่ปุ่นด้วย อัฐิที่ส่งไปญี่ปุ่นนั้น ครั้งแรกถูกนำไปบรรจุในวัดโซโจหยิ ในเมืองโตเกียว แต่เนื่องจากโตเกียวขณะนั้นถูกโจมตีทางอากาศเป็นอาจิณ อัฐิจึงถูกย้ายมาประดิษฐานชั่วคราวที่วัดซังกาขุอิน เมืองวาราบิ จังหวัดไซตามะ ต่อมามีการสร้างวัดหยิออนหยิขึ้น โดยตั้งชื่อเลียนแบบวัดไดหยิออนหยิ (วัดต้าฉือเอินซื่อ) ซึ่งพระถังซัมจั๋งเป็นผู้สร้าง อัฐิจึงถูกย้ายไปประดิษฐานที่วัดแห่งนี้ หลังสงครามโลกครั้งที่ 2 พุทธศาสนิกชนได้ร่วมกันพิจารณาและมีมติเห็นพ้องกันว่า วัดหยิออนหยิเป็นวัดที่เหมาะสมที่สุดที่จะประดิษฐานอัฐิของพระถังซัมจั๋ง เพราะเป็นวัดที่มีความผูกพันกับพระถังซัมจั๋งมากที่สุด จึงสร้างเจดีย์เกนโจ้ (เจดีย์เสวียนจั้ง) 13 ชั้นด้วยหินแกรนิต (ความสูง 15 เมตร) ขึ้นที่นี่

               หลังจากนั้น ยังมีการแบ่งอัฐิของพระถังซัมจั๋งจากวัดนี้ไปยังเจดีย์เสวียนจั้ง ไต้หวัน และวัดยาคุชิหยิ เมืองนารา ประเทศญี่ปุ่นอีกด้วย

               ที่วัดหยิออนหยิแห่งนี้ ยึดเอาวันที่ 5 กุมภาพันธ์ (ซึ่งเป็นวันที่พระถังซัมจั๋งถึงแก่มรณภาพ) ของทุกปีเป็นวันบวงสรวงพระถังซัมจั๋ง และวันที่ 5 พฤษภาคมของทุกปีจะจัดเทศกาลพระถังซัมจั๋ง โดยมีริ้วกระบวนของเด็กๆแต่งตัวเหมือนซุนหงอคงในเรื่องไซอิ๋วมาร่วมด้วยเสมอ

การเดินทางไปเจดีย์เกนโจ้ (เจดีย์เสวียนจั้ง)
เดินทางโดยรถไฟสายโทบุโนดะเซน ลงที่สถานีโทโยฮารุ ออกประตูด้านตะวันตก เดินเท้า 25 นาที หรือ
เดินทางโดยรถไฟสายโทบุโนดะเซน ลงที่สถานีอิวาจึกิ และจากสถานีฮิงาชิอิวาจึกิต่อรถเมล์ Community bus ลงรถที่ป้าย หยิออนหยิคันโน เดินเท้าอีก 10 นาที

หมายเหตุ 
ในการแปลครั้งนี้ ชื่อคน วัดและสถานที่ในประเทศจีน ได้สะกดออกเสียงเป็นภาษาจีนแมนดาริน ส่วนชื่อคน วัดและสถานที่ในประเทศญี่ปุ่น ได้สะกดออกเสียงเป็นภาษาญี่ปุ่น


Monks Retrace Xuanzang's Historic Journey to India

As part of the "Year of China-India Friendship" celebrations, two Buddhist monks from the Chinese mainland and Taiwan, Mingxian and Huizai respectively, started yesterday on their journey to India that retraces the footsteps of their legendary predecessor Xuanzang (602-664).
 From Xi'an, capital of northwest China's Shaanxi Province, the monks will, over the next four months, traverse the route taken by Xuanzang, a Buddhist pilgrim, from China to India some 1,300 years ago. Xuanzang was on a mission to obtain Buddhist scriptures and to study. He returned to China 17 years later. 
 Mingxian and Huizai will pass through Shaanxi, Gansu and Xinjiang before crossing into Pakistan and Nepal on their way to Nalanda, the once famous seat of Buddhist learning in India.

But unlike Xuanzang, Mingxian and Huizai are not in search of Buddhist scriptures.
 "The journey aims to better promote communication and cultural exchange between China and India," the venerable Shenghui, administrative vice president of the China Buddhist Association, said at yesterday's sending-off ceremony.
 The project, which is coorganized by the China Buddhist Association, the Chinese People's Association for Friendship with Foreign Countries and the China Xuanzang Research Center, also hopes to highlight Xuanzang's enduring spirit in promoting Buddhism, he said.
 "Xuanzang searched for the real Buddhist scriptures by traveling to India and translated the texts into Chinese," he said. "Today, his enduring spirit should still be respected and better promoted and his successors' journey will help give the public a better understanding of Buddhism."
 A total of 108 monks from the Chinese mainland, Taiwan, Hong Kong and Macao and four leading actors from the CCTV television series, Journey to the West, which is based on Xuanzang's story, also attended yesterday's ceremony.
 (China Daily July 20, 2006)


Speech at the Welcome Reception for the Team of Pilgrimage Journey of Xuanzang from CCTV

H.E. Mr. Sun Yuxi, Chinese Ambassador to India

Good Evening,

Ladies and Gentlemen,

I am most delighted to attend today's function sponsored by FICCI, Sinosteel and Chamber of Chinese Enterprises in India (CCEI).

I'd like to extend my sincere thanks to their efforts to promote Sino-Indian relations, and my special warm welcome to the team of Pilgrimage Journey of Xuanzang from CCTV.

In China, all people including every child know the stories of Xuanzang's journey to India.

Over the past 1300 years, they have been told, performed, written and re-written generations after generations.

"Journey to the West" by Wu Chengen, a novelist in Ming Dynasty brought to the climax of the Xuan Zang legend.

In India, people remember Xuanzang for his "Records of the West Regions during the Great Tang Dynasty".

These two books have not only immortalized Xuanzang's pilgrimage to India, but also immortalized the image of India as the western heaven.

Today, when we, equipped with modern transportation vehicles and communication technology, follow the footprints of Xuanzang and come to the heavenly land again, we could imagine how formidable the journey was more than one thousand and three hundred years ago.

In human history, there were three sorts of people, who had the courage to adventure long journeys.

The first category was warriors, kings or emperors like Alexander the Great or Genghis Khan.

They were motivated by expanding territory and conquering other states.

Their Empire ended up ruling, or conquering large parts of Eurasia, radically changed the demography and geopolitics of these areas.

The second was businessmen.

Driven by profits, they looked for larger markets and opened new trade routes. That was how the Silk Road came into being.

Extending over thousands of kms, it was significant not only for spreading the great civilizations of China, ancient Egypt, Persia, India and Rome, but also helped to lay the foundations of the modern world.

The last but the most admirable travelers were scholars. They include religionist, artist, writers, philosopher and etc.

They were taking incredible journeys and exploited the unknown land in pursuit of religion, art and truth. Xuanzang was one of the best examples.

Surmounting countless hardships and hidden dangers, covering vast inhospitable land, Xuanzang ultimately reached his destination.

This was a route spanning 17 years and 25,000 kms, a route characterized by faith, perseverance and wisdom, a route reflecting the openness of a man and a nation, and a route witnessing the Xuanzang spirit and leaving valuable legacy for the world.

Owing to these reasons, Xuanzang has been remembered as a man of many parts: a Buddhist Monk, a traveler, a philosopher, a translator, as well as an outstanding messenger and promoter of culture exchanges among the nations of Asia.

During his journey, he introduced China to India and other Asian countries.

With his efforts, India sent the official envoys to China in 642 A.D., starting the diplomatic relations between India and China. So in my eyes, I see him as a great diplomat.

He could be regarded as my early predecessor, the first Chinese Ambassador to India who performed diplomacy at that time.

His footprints closely linked the two most populous nations in the world. His life and work are the best evidence of what China-Indian friendship stands for.

Today, when we get together to celebrate India-China Friendship year, to review Xuanzang spirit on this special occasion, I would like to compare Xuanzang to a torchbearer.

Underpinned by our centuries-old friendship, driven by extensive common interests, supported by millions of friends like you, I believe we would carry the same torch to shine upon our path ahead.

Let us join, hand in hand and shoulder to shoulder, and continue the historical journey towards a much better future!

Thank you! Editor: Wang Xinyu


http://news.fjnet.com/english/World/200609/t20060926_39526.htm

A Speech on the Third International Conference on Xuanzang
08-23-2010    FJNET
Honourable
Dharma Masters, scholars, ladies and gentlemen:

We feel grateful and honored to come to China attending the Third International Conference on Xuanzang and discuss the great contribution of the Great Master Xuanzang with scholars from all over the world. Let me on behalf of all foreign scholars at present express our deep respect to the holder/organizers of this conference and hope to get the perfect success of the conference.

Xuanzang is a Chinese respected monk and the friendly ambassador of Chinese people. He is a household in India, there is a text about Xuanzang's deeds in the textbook of elemental school. So, Indian people are very familiar with him.

Xuanzang visited India in the middle age. His travel was not only a pilgrimage of visiting Indian Buddhist holy sites, but also a quest for Buddhist scriptures and truthful knowledge of Buddhism. Xuanzang once visited many respected monks during staying in India. He learned from Great Masters from all sorts of sects, thought deeply and got rich achievements. He had gained respects from Indian monks.

Xuanzang took Indian Buddhism and its culture back to China and translated many Indian Buddhist scriptures in Sanskrit into Chinese, that made Indian Buddhist thoughts known by more Chinese people and Sino-Indian religious and cultural exchange deepened further. These all are valuable works.

Xuanzang also contributed to the Indian Historical survey. He wrote the book Da Tang Xi Yu Ji (Records of the Western Land in the Tang dynasty) after coming back to China, which records the information of different parts of India in detail. Depending on Xuanzang's work, modern Indian archaeologists had made many discoveries. Xuanzang contributed to the Indian History a lot, therefore Indian people have been thinking of him.

There has been friendly contact between India and China for two thousands years, in which Buddhism is the most important link which connected these two counties. The Buddhist thought that India supplied for Chinese people become one most influential aspect of spirit and faith of Chinese people. This year is being celebrated as the year of Indo-China friendship when variety of rich activities have been held in both counties, commemorating Xuanzang which is the common wish of people from both countries is one of these activities. I hope the friendship between India and China will continue forever and will make more contributions to the world peace and the economic and cultural development through this activity.   

Thanks for all!


(Lalji Shravak, Research Scientist of Department of Foreign Languages, Banaras Hindu University)

Editor: Wang Xinyu
The Third International Conference on Xuanzang




08-23-2010    FJNET


FJNET, September 26, 2006
Chengdu, China -- From September 20 - 22, 2006, The Third International Conference on Xuanzang was held in Chengdu. This conference aimed to commemorate the Great Master Xuanzang, disseminating the brilliant Chinese traditional culture, expanding the cultural exchange, and advancing realization of the harmonious society

This conference is launched by Xuanzang Research Center which is affiliate with Chinese Academy of Social Sciences. Celebrated scholars such as Mr. Huang Xinchuan, Lou Yulie, Fang Litian etc., as well as Taiwan representatives attended the conference. Approximate 200 religious representatives from India, Japan, Nepal, Sri Lanka, USA, Belgium, South Korea, Vietnam, Bengal also attended the conference. They discussed the great contribution of the Great Master Xuanzang, clarifying the current meaning and realistic significance.   [Translator: Wang Xinyu   News in Chinese]

Translator: Wang Xinyu


http://news.fjnet.com/english/China/200605/t20060530_37132.htm
Pilgrimage for Celebrating 40th Anniversary of Fo Guang Shan Monastery




08-23-2010    Renjian Society

By Xinhua Dashu, Renjian Society, May 18, 2006
Taiwan, China -- May 16th, 2006 is the 40th Anniversary of Fo Guang Shan Monastery, over 2000 pilgrims made their pilgrimage to Fo Guang Shan Monastery on that day.
Ven. Hsing Yun, the founder of Fo Guang Shan Monastery said that Practice is the "foundation stone" of Fo Guang Shan Monastery. In other words, no pilgrimage no Fo Guang Shan Monastery. Forty years ago, when Fo Guang Shan Monastery was just founded, Pilgrimage Group which was from Taipei to Fo Guang Shan was weekly organized to promote the Buddhist followers prostrating Buddha frequently. Because of the lower traffic charge, Buddhist followers who pilgrimage Fo Guang Shan Monastery are increasing daily. Gradually, the name of Fo Guang Shan Monastery became well-known to Taiwanese, and to the whole world. Now Fo Guang Shan Monastery is an extremely influential Buddhist Community in Taiwan.
Ven. Hsing Yun stated, although we are bowing to the ground, but the dignity raised; bowing to Buddha is communicating with Buddha, a kind of connection in mind.
Ven. Hsing Yun noted, through pilgrimage, one should aware of the meaning of Buddha, the loving-kindness, the sublimity as well as the wisdom, then the Buddha-Nature existed in oneself will be revealed. We should recur to the practical and positive side of Humanistic Buddhism, while one prostrating Buddha should be grateful to Buddha.
President of Domestic & Overseas Executive Council, Ven. Hui Chuan stated that it rained last night, which made the clear air and mild climate in the morning. Ven. Abbot Hsin Pei stated, although we are bowing to the ground, but the dignity raised; bowing to Buddha into the heart, which will show pure land, clean and dignity.   [Translator: Wang Xinyu]

Translator: Wang Xinyu

Origin of Xuanzang Memorial Hall




08-23-2010    



Ven. Xuanzang was a Buddhist dignitary, a translator, an envoy of peace, and a giant of world culture. To carry forward and promote his aspirations and cause, the governments and peoples of China and India have built the Xuanzang Memorial Hall, and now erected this stele at the former site of Nalanda Temple to recount that great episode.
In 1954, Chinese premier Zhou Enlai and India prime minister Jawaharlal Nehru, exchanged visits and jointly initiated the Five Principles of Peaceful Coexistence to promote the friendly intercourses between the two nations. The Buddhist circles were delighted and inspired. The rector of Nalanda Institute J. Kashyap was the first to propose a joint effort to build a Memorial Hall to cherish the forerunner Xuanzang. Mr. Zhao Puchu, a lay Buddhist representating the Chinese Buddhist circle visited India in active response. The preparatory efforts were vigorously supported by both governments, and the premiers personally looked into the matter many times. In 1956, the Chinese Government sent religious figures to visit India, and in 1957 presented to the Indian Government a relic of Xuanzang��s skull, 1,335 volumes translated by Xuanzang, a set of Qisha Tripitaka, a draft design map of the Memorial Hall, and RMB 300,000 Yuan as funds for the construction program. The spectacular scene that the master translated and lectured there was vividly recalled in such a contrast that the relic of the master had to be presented as a payback. It was hoped that a new temple could be built at the site of the ruins to revive the shrine.
In 2005, Chinese Premier Wen Jiabao and India Prime minister Manmohan Singh, held talks and released a joint statement, opening a new chapter in the annals of bilateral relations. The construction and maintenance of the Xuanzang Memorial Hall were enlisted into the programs of cultural exchanges between the two countries as a continuation of the previous predestined relationship. In November the same year, a delegation of the State Administration for Religious Affairs of the People's Republic of China visited India to discuss matters related to the construction and maintenance with the Indian construction and maintenance committee of the Xuanzang Memorial Hall. Murals were painted and exhibition shelves installed to depict the life stories of the master; a bronze statue was moulded, steles erected and bell pavilions built in praise of peace. inspired by the model role of the master, people all over China responded actively��and many organizations in China donated funds to the great understanding, among which were the Great Ci��en Temple in Xi��an, the Wenshu Temple, the Daci Temple in Chengdu, the White House Temple in Luoyang, the Bailin Temple in Zhaozhou, wuxi Lingshan Industrial(group)CO.LTD ,Shanghai Kangyu copper gate design engineering CO.LTD and China ports international shipping agency  LTD.
In April 2006, Buddhist dignitaries, experts and scholars from 37 countries and regions gathered in China and successfully held the First Word Buddhist Forum. Together, they issued the Mount Putuo Declaration, which says that ��Everyone is responsible for the world harmony; and a harmonious world begins in the mind.�� Today, the Xuanzang Memorial Hall is completed, which means the principle of ��begins-in-the-mind�� has been translated into reality. Hence this stele is erected to trace the source, cherish the previous worthy, and encourage the coming ones.

State Administration for Religious Affairs of  P.R.C
November,2006

Editor:kongqing

Bronze Statue of Pioneering Xuanzang Shipped to India




08-23-2010    Xinhua

Xinhua, Aug. 5, 2006

Hangzhou, China -- A two-and-a-half-ton bronze statue of Xuanzang (602-664), an eminent Chinese Buddhist monk of the Tang Dynasty (618-907), was shipped from here to India via Shanghai on August 5 (Saturday).

The 3.5-meter high statue was made by artisans of Shendiao Group Company in Zhejiang, said a spokesman from Zhejiang Provincial Religious Affairs Department.

A group of specialists from the State Administration of Religious Affairs in Beijing on August 1 (Tuesday) examined the statue and approved its export.

The statue will be placed in a memorial named after Xuanzang inside Nalanda Temple in Bihar, an ancient center of Buddhist learning.

Listed as one of the many activities for the Sino-Indian Year of Culture 2006, the memorial will be open to worshippers in November.

Xuanzang received a classical Confucian education before converting to Buddhism.

Troubled by discrepancies in the sacred texts, he left for India in 629 to study the religion at its source. He traveled by foot across Central Asia and reached India in 633.

After studying at the famous Nalanda monastery, he returned home in 645 to a hero's welcome, bringing back hundreds of Buddhist texts, including some of the most important Mahayana scriptures, and spent the rest of his life translating.

Xuanzang's life inspired the novel "Journey to the West", an ancient Chinese literary classic commonly known to Western readers as the "Monkey King".

Editor: Wang Xinyu